Skip to main content
เวลาทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30 น. - 16.30 น.
ขนาดตัวอักษร
สีตัวอักษร

Ebook วารสารความมั่นคง

                       วารสารความมั่นคง เป็นวารสารที่รวบรวมบทความวิจัยหรือบทความวิชาการทั่วไปด้านความมั่นคงจากบุคลากรของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง นักวิชาการภายนอก และผู้แทนหน่วยงานในประชาคมความมั่นคงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมผลงานทางวิชาการด้านความมั่นคง สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากผลงานทางวิชาการและสร้างความรู้ ความเข้าใจในด้านความมั่นคง เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือและประสานงานในการบริหารจัดการข้อมูลวิชาการระหว่างหน่วยงานด้านความมั่นคง และเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ กับหน่วยงาน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 17 (ต.ค. 67 – ม.ค. 68)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P05-14] : การต่อต้านภัยคุกคามข้ามชาติในยุค 3.0 (CTOC 3.0)
 [P15-26] : ความมั่นคงไซเบอร์: ในมุมมองของสหรัฐฯ
 [P27-34] : The Dilemma of Security: The State and the Individual
 [P35-44] : Contemporary Challenges in Modern Warfare
 [P45-52] : จับตาการแข่งขันทางเทคโนโลยีชีวภาพ: ยุทธศาสตร์การแข่งขันเทคโนโลยีชีวภาพของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 [P53-70] : การค้าและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงด้านสภาพภูมิอากาศ
 [P73-80] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 7 การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ และนโยบายและแผนความมั่นคงที่ 8 การป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด
 [P81-84] : เกร็ดความรู้ที่ 2 CWME III: TRM Course
 [P85-90] : เกร็ดความรู้ที่ 3 Global Navigation Satellite System (GNSS)
 [P91-100] : เกร็ดความรู้ที่ 4 การพัฒนาความรู้ด้านความมั่นคงและภาคีเครือข่าย

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 16 (มิ.ย. 67 – ก.ย. 67)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P05-16] : การประเมินวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ: กรณีศึกษา การประเมินแนวโน้มภัยคุกคามจากอาชญากรรมจีนในไทย
 [P17-30] : ข่าวกรองทางยุทธศาสตร์ กรณีศึกษา สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ
 [P31-46] : แนวทางการจัดทำสมุดปกขาวของกองทัพไทย “กรณีศึกษาจากกองทัพออสเตรเลีย”
 [P47-68] : นโยบายความมั่นคงทางทะเลและอากาศ
 [P71-76] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 6 การบริหารจัดการผู้หลบหนีเข้าเมืองและผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ
 [P77-80] : เกร็ดความรู้ที่ 2 การดำเนินงานความมั่นคงในกรอบแผนแม่บทและนโยบายความมั่นคง
 [P81-86] : เกร็ดความรู้ที่ 3 การสร้างดุลยภาพระหว่างประเทศด้านความมั่นคง
 [P87-92] : เกร็ดความรู้ที่ 4 การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคาม
 [P93-96] : เกร็ดความรู้ที่ 5 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับบทบาท สมช.
 [P97-100] : เกร็ดความรู้ที่ 6 ภาพรวมหลักสูตรความมั่นคงศึกษา รุ่นที่ 5

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 15 (ก.พ. 67 – พ.ค. 67)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-12] : การปรับมโนทัศน์ต่ออำนาจละมุนของไทยในยุคดิจิทัล: การส่งเสริมกำลังอำนาจและยุทธศาสตร์ของชาติ (Reimagining Thailand’s Soft Power for the Digital Era: Enhancing National Power and Strategy)
 [P13-18] : การตอบสนองต่อภาวะวิกฤต 2023 (Crisis Response Conference 2023)
 [P19-38] : การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านความมั่นคงไทยที่สหรัฐฯ ให้ความสำคัญ และความรู้ด้านกฎหมายความมั่นคงทางทะเล: หลักสูตร IFLOS
 [P39-50] : Design Thinking การสร้างกลไก พื้นที่ เวที การเสริมสร้างความสามัคคี
 [P51-68] : Lessons from Ukraine: การถอดบทเรียนจากการโจมตีโครงสร้างพื้นฐานทางพลังงานของยูเครนสำหรับประเทศไทย
 [P71-82] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ:นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 4 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 5 การป้องกันและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
 [P83-92] : เกร็ดความรู้ที่ 2 UNHCR ExCom สมัยที่ 74
 [P93-96] : เกร็ดความรู้ที่ 3 การบริหารจัดการวิกฤตด้านความมั่นคงปลอดภัยต่อโครงสร้างพื้นฐาน
 [P97-100] : เกร็ดความรู้ที่ 4 ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติของเยอรมนี: บริบทและจุดยืนในศตวรรษที่ 21

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 14 (ต.ค. 66 – ม.ค. 67)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-16] : การเปลี่ยนแปลงดุลแห่งอำนาจจากสหรัฐอเมริกามาสู่จีน: เรื่องจริงหรือมายาคติ
 [P17-28] : The deadlock in the Asia-Pacific. The takeaway from the 20th Shangri-la Dialogue
 [P29-46] : แนวทางการสร้างความมั่นคงของไทยต่อกลุ่มประเทศ CLMV
 [P47-62] : ความร่วมมือทวิภาคี ไทย – ซาอุดีอาระเบีย
 [P65-72] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 2 การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ และการพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศและนโยบายและแผนความมั่นคงที่ 3 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติพื้นที่ชายแดน
 [P73-80] : เกร็ดความรู้ที่ 2 แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570
 [P81-84] : เกร็ดความรู้ที่ 3 แนวทางการเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันบนความหลากหลายทางสังคม (Guidelines on strengthening co-existence amidst social diversity)
 [P85-90] : เกร็ดความรู้ที่ 4 การขับเคลื่อนนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570)
 [P91-94] : เกร็ดความรู้ที่ 5 ยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้าย ฉบับปี 2566 (CONTEST 2023)
 [P95-100] : เกร็ดความรู้ที่ 6 การประชุมรัฐภาคี Arm Trade Treaty

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 13 (มิ.ย. 66 – ก.ย. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P4-13] : “นาม” และ “นัย” : ภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงในยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก
  [P14-25] : ภัยคุกคามและนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
 [P26-34] : แนวโน้มการก่อการร้ายและนโยบาย รับมือของสหรัฐฯ รัสเซียและสหประชาชาติ
  [P35-51] : การส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ในการป้องกันแนวคิดที่นิยมความรุนแรง
 [P52-67] : สันติภาพและความมั่นคงในแผนที่ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก
 [P68-79] : การประเมินปัจจัยเสี่ยงและข้อเสนอแนะต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจไทยในอนาคต ด้วยเครื่องมือ Strategic Foresight
 [P80-89] : การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 12 (ก.พ. 66 – พ.ค. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P6-19] : การสื่อสารเพื่อสร้างความมั่นคงทางสังคม
  [P20-31] : การพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
 [P32-47] : ทิศทางท่าทีของไทย และ สมช. ต่อสหรัฐอเมริกา รัสเซีย และสหภาพยุโรปในอนาคต
  [P48-56] : Comprehensive Security Cooperation (CSC 22-1)
 [P57-72] : นวัตกรรมด้านการเงินสกุลดิจิตอล “คริปโตเคอร์เรนซี่” ที่ส่งผลต่อความมั่นคงของรัฐ
 [P73-75] : ผลการดำเนินงานคณะที่ปรึกษาของสภาความมั่นคงแห่งชาติ และสถาบันความมั่นคงศึกษา
 [P76-78] : ภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Geopolitics and Cybersrcurity)
 [P79-81] : 16th EU – Thailand Senior Officials Meeting
 [P82-83] : เกร็ดความรู้ความมั่นคง
 [P84-86] : ความร่วมมือไทย – ซาอุดิาระเบีย

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 11 (ต.ค. 65 – ม.ค. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
  [P4-22] : แนวทางการแก้ปัญหาความมั่นคงทางทะเลแบบองค์รวม โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงิน
  [P23-33] : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการเมืองระหว่างประเทศ : การเปลี่ยนแปลงของอำนาจรัฐและระเบียบระหว่างประเทศในศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด
  [P34-39] : การส่งเสริมบทบาทสตรีในการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี
  [P40-51] : Gender กับ ความมั่นคง
  [P52-66] : สงครามไซเบอร์กับการนิยามใหม่ของการทำสงครามในการเมืองระหว่างประเทศยุคร่วมสมัย
  [P67-71] : ภาพยนตร์กับความมั่นคง
  [P72-75] : (ร่าง) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2566-2570)
  [P76-81] : Treaty on the Prohibition of Nuclear Weapons Meeting of States Parties (TPNW)
  [P82-84] : สมช. ร่วมกับ UNDP และ UNODC ส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์
  [P85-86] : ทบทวนภูมิทัศน์ความขัดแย้งในโลกสมัยใหม่ ก้าวต่อไปสู่การจัดการความขัดแย้งในสังมไทยอย่างยั่งยืน

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 10 (มิ.ย. 65 – ก.ย. 65)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-18] : ยุทธศาสตร์ชาติไทยต่ออาเซียนและระหว่างประเทศ
  [P19-36] : การสัมมนาเชิงวิชาการมุมมองความมั่นคง (AFSP) ครั้งที่ 2/65 เรื่อง “พลวัตความมั่นคงชายแดนกับภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง” และเรื่อง “แนวโน้มความมั่นคงใหม่และการแข่งขันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร”
  [P37-48] : การพัฒนาการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติ
  [P49-60] : การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อสนบัสนุนการขับเคลื่อนการบริหารจัดการชายแดนด้านความมั่นคง
  [P61-70] : การบริหารจัดการชายแดนแบบองค์รวม
  [P71-76] : 70 ปี ความสัมพันธ์ไทย – ออสเตรเลีย
  [P77-80] : ความรู้ Track 1.5 BIMSTEC Security Dialogue Forum ครั้งที่ 3
  [P81-82] : ความร่วมมือทางวิชาการ สมช. กับคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเอเชียศึกษา และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  [P83-86] : แนะนำ New Gen NSC แรกเข้ากับมุมมองความมั่นคง

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 8 (ต.ค. 64 – ม.ค. 65)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
  [P05-14] : การศึกษาและพิจารณาภัยคุกคามหรือแนวโน้มด้านความมั่นคงที่จะเกิดขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า เพื่อประกอบการพิจารณาจัดทำแผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570)
  [P15-30] : ภาคประชาสังคมกับการขับเคลื่อนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
  [P31-42] : การขับเคลื่อนงานความมั่นคง: กรณีศึกษาการบริหารจัดการแผนปฏิบัติราชการประจำปี
  [P43-62] : ความมั่นคงทางอาหารของไทยและความท้าทายภายใต้โควิด – 19
  [P63-74] : การโยกย้ายถิ่นฐาน แรงงานข้ามชาติ และโควิด – 19
  [P75-80] : มุมมองหลักสูตรความมั่นคงศึกษา
  [P81-86] : เกร็ดความรู้: การแก้ปัญหาผู้อพยพในไทย

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 6 (ก.พ. – พ.ค. 64)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P07-20] : พลวัตความมั่นคงภูมิภาคตะวันออกกลาง : ทิศทาง โอกาส และความร่วมมือบนความขัดแย้ง
  [P21-36] : บทบาทของผู้แสดงที่ไม่ใช่รัฐ : NATO และ SCO
  [P37-46] : ความท้าทายการพัฒนาศักยภาพในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
  [P47-56] : โรฮีนจา : ความขัดแย้งระหว่างรัฐ ประเด็นเรื่องผู้ผลัดถิ่นหรือการแทรกแซงของมหาอำนาจ
  [P57-68] : แนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง ภาค 2 : แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่กระจายแนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง
  [P69-80] : การศึกษาการจัดทำนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติของไทย
  [P81-84] : เกร็ดความรู้ : คณะที่ปรึกษาของสภาความมั่นคงแห่งชาติ

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 5 (ต.ค. 63 – ม.ค. 64)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P05-10] : สืบสานพระราชปณิธานตามรอยพระยุคลบาท “ชาติเข้มแข็งมั่นคง”
  [P11-18] : การพัฒนาการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติ (C-MEX) ในกรอบแผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ
  [P19-30] : การคุ้มครองนโยบายความมั่นคงแห่งชาติในความตกลงระหว่างประเทศด้านการลงทุน : กรณีมาตรการฉุกเฉินเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด COVID -19
  [P31-36] : แนวทางผลักดัน พลังวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความมั่นคงของชาติ
  [P37-42] : 5G กับความมั่นคงแห่งชาติ
  [P43-48] : มุมมองการสงครามสมัยใหม่ “HYBRIDWARFARE”
  [P49-54] : การบริหารจัดการชายแดนไทย-มาเลเซีย
  [P55-64] : องค์ความรู้ด้านความมั่นคงและการฝึกศึกษา สมช.
  [P65-70] : ปัญหาการป้องกันอาชญากรรมข้ามชาติ ที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
  [P71-78] : เกร็ดความรู้ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2550-2554

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 4 (มิ.ย. – ก.ย. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P09-12] : ประสบการณ์การทำงานใน สมช.
  [P13-22] : ความท้าทายการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่และคุณภาพชีวิต ในจังหวัดชายแดนภาคใต้”
  [P23-32] : มุมมอง “บวร” เพื่อความมั่นคง
  [P33-48] : สื่อบันเทิงกับความมั่นคงใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา มองผ่านบทบาทภาพยนตร์ฮอลลีวูด
  [P49-58] : สถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศภายหลังการระบาด COVID – 19
  [P59-68] : ประเทศมหาอำนาจกับความท้าทายร่วมสมัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
  [P69-76] : Free and Open Indo-Pacific, BRI กับความร่วมมือในอนุภูมิภาค
  [P77-82] : GORIAN MAJOR SECURITY CHALLENGES IN 2035 : TERRONISM
  [P83-88] : เกร็ดความรู้การจัดหน่วยงานและกลไกดำเนินงานของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 3 (ก.พ. – พ.ค. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P09-18] : การจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของกลุ่มประเทศ BIMSTEC
  [P19-30] : Strategic Foresight Study on Security in ASEAN
  [P31-42] : โอกาสการค้าและการลงทุนไทยจากนโยบาย Belt and Road Initiative ของจีน
  [P43-50] : มุมมองความมั่นคงทางอาหาร
 [P51-58] : พลังวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างความมั่นคงของชาติ
  [P59-70] : มุมมอง Security in a Complex Environment, Critical Thinking and Strategy
  [P71-76] : ความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก : มุมมองจากนานาชาติ
  [P77-78] : เกร็ดความรู้เกี่ยวกับ A Free and Open Indo-Pacific Advancing a Shared Vision
  [P79-82] : ทัศนะของสหรัฐอเมริกาต่ออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
  [P83-90] : มุมมองการจัดการภาวะวิกฤตในกรณีการก่อการร้ายของตุรกี

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 2 (ต.ค. 62 – ม.ค. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P07-22] : ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล : ระบบการเตรียมพร้อมของไทย
  [P23-34] : ระบบการเตรียมพร้อมด้านความมั่นคงของไทย
  [P35-40] : ความพร้อมเพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสีในงานกิจกรรมสาธารณะ
  [P41-48] : ทลายมายาคติ “ความพิเศษเหนือชาติอื่นของอเมริกา” : การแสวงหายุทธศาสตร์ทางเลือก
  [P49-54] : ยุทธศาสตร์ INDO – PACIFIC กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา
  [P55-64] : สมช. กับการพัฒนาขีดความสามารถการประเมินสถานการณ์ที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ในระยะยาว
  [P65-80] : การศึกษาเปรียบเทียบยุทธศาสตร์การต่อต้านการค้ามนุษย์ใน จีน อินเดีย และ สิงคโปร์
  [P81-84] : แนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง ภาค 1 : เหตุใดภาครัฐจึงต้องให้ความสำคัญ
  [P85-90] : สังคมพหุวัฒนธรรมกับนวัตกรรมในการพัฒนาประเทศไทย

วารสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 1 (มิ.ย. – ก.ย. 62)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P01-11] : มุมมองการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ
  [P12-26] : ความมั่นคงไซเบอร์ : แนวคิด ประสบการณ์ของต่างประเทศและบทเรียนสำหรับประเทศไทย
  [P27-41] : การจัดทำงบประมาณ บูรณาการตามภารกิจยุทธศาสตร์ (Agenda) เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
  [P42-58] : นโยบายการทะยานขึ้นอย่างสันติของจีน : กรณีศึกษาข้อพิพาทกับอาเซียนในทะเลจีนใต้ และการแสดงบทบาทของไทยอย่างสร้างสรรค์
  [P59-73] : Is Your Leader A Woman? : Perspectives of Thai Millennials toward Women’s Leadership
  [P74-84] : การประชาสัมพันธ์งานด้านความมั่นคง
  [P85-98] : แนวโน้นความมั่นคง : พลวัตใหม่ในการดำเนินยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

Loading

Top
Page Reader Press Enter to Read Page Content Out Loud Press Enter to Pause or Restart Reading Page Content Out Loud Press Enter to Stop Reading Page Content Out Loud Screen Reader Support