เวลาทำการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30 น. - 16.30 น.

C
C
C
เลือกภาษา
ขนาดตัวอักษร

Ebook วารสารความมั่นคง

                       วารสารความมั่นคง เป็นวารสารที่รวบรวมบทความวิจัยหรือบทความวิชาการทั่วไปด้านความมั่นคงจากบุคลากรของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง นักวิชาการภายนอก และผู้แทนหน่วยงานในประชาคมความมั่นคงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมผลงานทางวิชาการด้านความมั่นคง สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากผลงานทางวิชาการและสร้างความรู้ ความเข้าใจในด้านความมั่นคง เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือและประสานงานในการบริหารจัดการข้อมูลวิชาการระหว่างหน่วยงานด้านความมั่นคง และเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ กับหน่วยงาน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 15 (ก.พ. 67 – พ.ค. 67)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-12] : การปรับมโนทัศน์ต่ออำนาจละมุนของไทยในยุคดิจิทัล: การส่งเสริมกำลังอำนาจและยุทธศาสตร์ของชาติ (Reimagining Thailand’s Soft Power for the Digital Era: Enhancing National Power and Strategy)
 [P13-18] : การตอบสนองต่อภาวะวิกฤต 2023 (Crisis Response Conference 2023)
 [P19-38] : การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านความมั่นคงไทยที่สหรัฐฯ ให้ความสำคัญ และความรู้ด้านกฎหมายความมั่นคงทางทะเล: หลักสูตร IFLOS
 [P39-50] : Design Thinking การสร้างกลไก พื้นที่ เวที การเสริมสร้างความสามัคคี
 [P51-68] : Lessons from Ukraine: การถอดบทเรียนจากการโจมตีโครงสร้างพื้นฐานทางพลังงานของยูเครนสำหรับประเทศไทย
 [P71-82] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ:นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 4 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 5 การป้องกันและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
 [P83-92] : เกร็ดความรู้ที่ 2 UNHCR ExCom สมัยที่ 74
 [P93-96] : เกร็ดความรู้ที่ 3 การบริหารจัดการวิกฤตด้านความมั่นคงปลอดภัยต่อโครงสร้างพื้นฐาน
 [P97-100] : เกร็ดความรู้ที่ 4 ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติของเยอรมนี: บริบทและจุดยืนในศตวรรษที่ 21

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 14 (ต.ค. 66 – ม.ค. 67)

Download
  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-16] : การเปลี่ยนแปลงดุลแห่งอำนาจจากสหรัฐอเมริกามาสู่จีน: เรื่องจริงหรือมายาคติ
 [P17-28] : The deadlock in the Asia-Pacific. The takeaway from the 20th Shangri-la Dialogue
 [P29-46] : แนวทางการสร้างความมั่นคงของไทยต่อกลุ่มประเทศ CLMV
 [P47-62] : ความร่วมมือทวิภาคี ไทย – ซาอุดีอาระเบีย
 [P65-72] : เกร็ดความรู้ที่ 1 นโยบายและแผนความมั่นคงที่ 2 การปกป้องอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ และการพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศและนโยบายและแผนความมั่นคงที่ 3 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติพื้นที่ชายแดน
 [P73-80] : เกร็ดความรู้ที่ 2 แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570
 [P81-84] : เกร็ดความรู้ที่ 3 แนวทางการเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันบนความหลากหลายทางสังคม (Guidelines on strengthening co-existence amidst social diversity)
 [P85-90] : เกร็ดความรู้ที่ 4 การขับเคลื่อนนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570)
 [P91-94] : เกร็ดความรู้ที่ 5 ยุทธศาสตร์การต่อต้านการก่อการร้าย ฉบับปี 2566 (CONTEST 2023)
 [P95-100] : เกร็ดความรู้ที่ 6 การประชุมรัฐภาคี Arm Trade Treaty

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 13 (มิ.ย. 66 – ก.ย. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P4-13] : “นาม” และ “นัย” : ภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงในยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก
  [P14-25] : ภัยคุกคามและนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
 [P26-34] : แนวโน้มการก่อการร้ายและนโยบาย รับมือของสหรัฐฯ รัสเซียและสหประชาชาติ
  [P35-51] : การส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์ในการป้องกันแนวคิดที่นิยมความรุนแรง
 [P52-67] : สันติภาพและความมั่นคงในแผนที่ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก
 [P68-79] : การประเมินปัจจัยเสี่ยงและข้อเสนอแนะต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจไทยในอนาคต ด้วยเครื่องมือ Strategic Foresight
 [P80-89] : การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 12 (ก.พ. 66 – พ.ค. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P6-19] : การสื่อสารเพื่อสร้างความมั่นคงทางสังคม
  [P20-31] : การพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
 [P32-47] : ทิศทางท่าทีของไทย และ สมช. ต่อสหรัฐอเมริกา รัสเซีย และสหภาพยุโรปในอนาคต
  [P48-56] : Comprehensive Security Cooperation (CSC 22-1)
 [P57-72] : นวัตกรรมด้านการเงินสกุลดิจิตอล “คริปโตเคอร์เรนซี่” ที่ส่งผลต่อความมั่นคงของรัฐ
 [P73-75] : ผลการดำเนินงานคณะที่ปรึกษาของสภาความมั่นคงแห่งชาติ และสถาบันความมั่นคงศึกษา
 [P76-78] : ภูมิรัฐศาสตร์และความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Geopolitics and Cybersrcurity)
 [P79-81] : 16th EU – Thailand Senior Officials Meeting
 [P82-83] : เกร็ดความรู้ความมั่นคง
 [P84-86] : ความร่วมมือไทย – ซาอุดิาระเบีย

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 11 (ต.ค. 65 – ม.ค. 66)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
  [P4-22] : แนวทางการแก้ปัญหาความมั่นคงทางทะเลแบบองค์รวม โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงิน
  [P23-33] : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการเมืองระหว่างประเทศ : การเปลี่ยนแปลงของอำนาจรัฐและระเบียบระหว่างประเทศในศตวรรษที่ยี่สิบเอ็ด
  [P34-39] : การส่งเสริมบทบาทสตรีในการจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี
  [P40-51] : Gender กับ ความมั่นคง
  [P52-66] : สงครามไซเบอร์กับการนิยามใหม่ของการทำสงครามในการเมืองระหว่างประเทศยุคร่วมสมัย
  [P67-71] : ภาพยนตร์กับความมั่นคง
  [P72-75] : (ร่าง) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2566-2570)
  [P76-81] : Treaty on the Prohibition of Nuclear Weapons Meeting of States Parties (TPNW)
  [P82-84] : สมช. ร่วมกับ UNDP และ UNODC ส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์
  [P85-86] : ทบทวนภูมิทัศน์ความขัดแย้งในโลกสมัยใหม่ ก้าวต่อไปสู่การจัดการความขัดแย้งในสังมไทยอย่างยั่งยืน

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 10 (มิ.ย. 65 – ก.ย. 65)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
 [P5-18] : ยุทธศาสตร์ชาติไทยต่ออาเซียนและระหว่างประเทศ
  [P19-36] : การสัมมนาเชิงวิชาการมุมมองความมั่นคง (AFSP) ครั้งที่ 2/65 เรื่อง “พลวัตความมั่นคงชายแดนกับภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง” และเรื่อง “แนวโน้มความมั่นคงใหม่และการแข่งขันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร”
  [P37-48] : การพัฒนาการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติ
  [P49-60] : การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อสนบัสนุนการขับเคลื่อนการบริหารจัดการชายแดนด้านความมั่นคง
  [P61-70] : การบริหารจัดการชายแดนแบบองค์รวม
  [P71-76] : 70 ปี ความสัมพันธ์ไทย – ออสเตรเลีย
  [P77-80] : ความรู้ Track 1.5 BIMSTEC Security Dialogue Forum ครั้งที่ 3
  [P81-82] : ความร่วมมือทางวิชาการ สมช. กับคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเอเชียศึกษา และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  [P83-86] : แนะนำ New Gen NSC แรกเข้ากับมุมมองความมั่นคง

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 8 (ต.ค. 64 – ม.ค. 65)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม
  [P05-14] : การศึกษาและพิจารณาภัยคุกคามหรือแนวโน้มด้านความมั่นคงที่จะเกิดขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า เพื่อประกอบการพิจารณาจัดทำแผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570)
  [P15-30] : ภาคประชาสังคมกับการขับเคลื่อนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
  [P31-42] : การขับเคลื่อนงานความมั่นคง: กรณีศึกษาการบริหารจัดการแผนปฏิบัติราชการประจำปี
  [P43-62] : ความมั่นคงทางอาหารของไทยและความท้าทายภายใต้โควิด – 19
  [P63-74] : การโยกย้ายถิ่นฐาน แรงงานข้ามชาติ และโควิด – 19
  [P75-80] : มุมมองหลักสูตรความมั่นคงศึกษา
  [P81-86] : เกร็ดความรู้: การแก้ปัญหาผู้อพยพในไทย

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 6 (ก.พ. – พ.ค. 64)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P07-20] : พลวัตความมั่นคงภูมิภาคตะวันออกกลาง : ทิศทาง โอกาส และความร่วมมือบนความขัดแย้ง
  [P21-36] : บทบาทของผู้แสดงที่ไม่ใช่รัฐ : NATO และ SCO
  [P37-46] : ความท้าทายการพัฒนาศักยภาพในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล
  [P47-56] : โรฮีนจา : ความขัดแย้งระหว่างรัฐ ประเด็นเรื่องผู้ผลัดถิ่นหรือการแทรกแซงของมหาอำนาจ
  [P57-68] : แนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง ภาค 2 : แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่กระจายแนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง
  [P69-80] : การศึกษาการจัดทำนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติของไทย
  [P81-84] : เกร็ดความรู้ : คณะที่ปรึกษาของสภาความมั่นคงแห่งชาติ

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 5 (ต.ค. 63 – ม.ค. 64)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P05-10] : สืบสานพระราชปณิธานตามรอยพระยุคลบาท “ชาติเข้มแข็งมั่นคง”
  [P11-18] : การพัฒนาการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติ (C-MEX) ในกรอบแผนเตรียมพร้อมแห่งชาติ
  [P19-30] : การคุ้มครองนโยบายความมั่นคงแห่งชาติในความตกลงระหว่างประเทศด้านการลงทุน : กรณีมาตรการฉุกเฉินเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด COVID -19
  [P31-36] : แนวทางผลักดัน พลังวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความมั่นคงของชาติ
  [P37-42] : 5G กับความมั่นคงแห่งชาติ
  [P43-48] : มุมมองการสงครามสมัยใหม่ “HYBRIDWARFARE”
  [P49-54] : การบริหารจัดการชายแดนไทย-มาเลเซีย
  [P55-64] : องค์ความรู้ด้านความมั่นคงและการฝึกศึกษา สมช.
  [P65-70] : ปัญหาการป้องกันอาชญากรรมข้ามชาติ ที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
  [P71-78] : เกร็ดความรู้ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2550-2554

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 4 (มิ.ย. – ก.ย. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P09-12] : ประสบการณ์การทำงานใน สมช.
  [P13-22] : ความท้าทายการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่และคุณภาพชีวิต ในจังหวัดชายแดนภาคใต้”
  [P23-32] : มุมมอง “บวร” เพื่อความมั่นคง
  [P33-48] : สื่อบันเทิงกับความมั่นคงใหม่ในประเทศสหรัฐอเมริกา มองผ่านบทบาทภาพยนตร์ฮอลลีวูด
  [P49-58] : สถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศภายหลังการระบาด COVID – 19
  [P59-68] : ประเทศมหาอำนาจกับความท้าทายร่วมสมัยในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
  [P69-76] : Free and Open Indo-Pacific, BRI กับความร่วมมือในอนุภูมิภาค
  [P77-82] : GORIAN MAJOR SECURITY CHALLENGES IN 2035 : TERRONISM
  [P83-88] : เกร็ดความรู้การจัดหน่วยงานและกลไกดำเนินงานของสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 3 (ก.พ. – พ.ค. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P09-18] : การจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของกลุ่มประเทศ BIMSTEC
  [P19-30] : Strategic Foresight Study on Security in ASEAN
  [P31-42] : โอกาสการค้าและการลงทุนไทยจากนโยบาย Belt and Road Initiative ของจีน
  [P43-50] : มุมมองความมั่นคงทางอาหาร
 [P51-58] : พลังวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างความมั่นคงของชาติ
  [P59-70] : มุมมอง Security in a Complex Environment, Critical Thinking and Strategy
  [P71-76] : ความมั่นคงทางทะเลในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก : มุมมองจากนานาชาติ
  [P77-78] : เกร็ดความรู้เกี่ยวกับ A Free and Open Indo-Pacific Advancing a Shared Vision
  [P79-82] : ทัศนะของสหรัฐอเมริกาต่ออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
  [P83-90] : มุมมองการจัดการภาวะวิกฤตในกรณีการก่อการร้ายของตุรกี

img

วารสารมุมมองความมั่นคง ฉบับที่ 2 (ต.ค. 62 – ม.ค. 63)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P07-22] : ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล : ระบบการเตรียมพร้อมของไทย
  [P23-34] : ระบบการเตรียมพร้อมด้านความมั่นคงของไทย
  [P35-40] : ความพร้อมเพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสีในงานกิจกรรมสาธารณะ
  [P41-48] : ทลายมายาคติ “ความพิเศษเหนือชาติอื่นของอเมริกา” : การแสวงหายุทธศาสตร์ทางเลือก
  [P49-54] : ยุทธศาสตร์ INDO – PACIFIC กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา
  [P55-64] : สมช. กับการพัฒนาขีดความสามารถการประเมินสถานการณ์ที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ในระยะยาว
  [P65-80] : การศึกษาเปรียบเทียบยุทธศาสตร์การต่อต้านการค้ามนุษย์ใน จีน อินเดีย และ สิงคโปร์
  [P81-84] : แนวคิดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง ภาค 1 : เหตุใดภาครัฐจึงต้องให้ความสำคัญ
  [P85-90] : สังคมพหุวัฒนธรรมกับนวัตกรรมในการพัฒนาประเทศไทย

img

วารสารความมั่นคงศึกษา ฉบับที่ 1 (มิ.ย. – ก.ย. 62)

Download

  วารสาร ฉบับเต็ม

  [P01-11] : มุมมองการพัฒนาเพื่อเสริมความมั่นคงของชาติ
  [P12-26] : ความมั่นคงไซเบอร์ : แนวคิด ประสบการณ์ของต่างประเทศและบทเรียนสำหรับประเทศไทย
  [P27-41] : การจัดทำงบประมาณ บูรณาการตามภารกิจยุทธศาสตร์ (Agenda) เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
  [P42-58] : นโยบายการทะยานขึ้นอย่างสันติของจีน : กรณีศึกษาข้อพิพาทกับอาเซียนในทะเลจีนใต้ และการแสดงบทบาทของไทยอย่างสร้างสรรค์
  [P59-73] : Is Your Leader A Woman? : Perspectives of Thai Millennials toward Women’s Leadership
  [P74-84] : การประชาสัมพันธ์งานด้านความมั่นคง
  [P85-98] : แนวโน้นความมั่นคง : พลวัตใหม่ในการดำเนินยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

Top